วันจันทร์ที่ 19 ตุลาคม พ.ศ. 2558

TL494 Part3 (PushPull)

/* test Here....................................... */
TL494 Part3 (PushPull)
 ในVedio ได้ออกแบบการทดลอง TL494  โดยทำวงจร PushPull ขับหลอด Incandescent Lamp 220v 25 w Transformer Ratio 1:19 การควบคุมเป็นแบบ OpenLoop วัตถุประสงค์เพื่อให้เข้าใจหลักการทำงานของวงจร PushPull  โดยให้เห็นแรงดันและกระแสจุดต่างๆ  ภาพที่ปรากฏที่จอ Oscilloscope มีการปรับระดับการวัดเพื่อให้เห็นชัดเจน ไม่ได้เน้นการอ่านค่าจาก Oscilloscope  หวังว่าคงได่รับประโยชน์

ดูการทดลองที่https://youtu.be/EuTrXDSFifs






วันเสาร์ที่ 10 ตุลาคม พ.ศ. 2558

Arfduino Nano(1)

/* test Here....................................... */
Arduino Nano

Arduino Nano เป็นแผงไมโครคอนโทลเลอร์ที่มีขนาดเล็ก ขนาดเพียง 45x18 ม.ม. ใช้โปเซลเซอร์ ATmega328 (สำหรับรุ่นตั้งแต่ 3.0 ขึ้นไป) สำหรับ Nano จะไม่มีหัวต่อไฟเลี้ยง DC ขณะพัฒนาโปรแกรมจะใช้ไฟผ่าน USB  สำหรับสาย USB จะเป็นแบบ Mini  USB
ดูวงจรได้ที่ https://www.arduino.cc/en/uploads/Main/ArduinoNano30Schematic.pdf

คุณสมบัติ
MicrocontrollerAtmel ATmega168 or ATmega328
Operating Voltage (logic level)5 V
Input Voltage (recommended)7-12 V
Input Voltage (limits)6-20 V
Digital I/O Pins14 (of which 6 provide PWM output)
Analog Input Pins8
DC Current per I/O Pin40 mA
Flash Memory16 KB (ATmega168) or 32 KB (ATmega328) of which 2 KB used by bootloader
SRAM1 KB (ATmega168) or 2 KB (ATmega328)
EEPROM512 bytes (ATmega168) or 1 KB (ATmega328)
Clock Speed16 MHz
Dimensions0.73" x 1.70"
Length45 mm
Width18 mm

ไฟเลี้ยงวงจร
สามารถนำไฟเลี้ยงวงจรได้3ทาง
1.ผ่านทางสายMini -B-USB  
2.ผ่านทางขา30 ทางนี้สามารจ่ายไฟเข้าได้ระหว่าง 6-20V
3.ผ่านท่างขา 27 ทางนี้แรงดันต้องรักษาระดับ 5V ( Ragulate )
   การต่อเข้าหลายทางระบบจะเลือกทางที่มีแรงดันสูงสุดใช้งาน

หน่วยความจำ
สำหรับโปเซสเซอร์ ATmega168
มีหน่วยความจำ 16KB สำหรับ2K สำหรับ Bootloader ที่เหลือใช้เก็บโปรแกรม
มี SRAM ขนาด 1KB ให้และ EEPROMอีก 512 ไบต์

สำหรับโปเซสเซอร์ ATmega328
มีหน่วยความจำ 32KB สำหรับ2K สำหรับ Bootloader ที่เหลือใช้เก็บโปรแกรม


มี SRAM ขนาด 2KB ให้และ EEPROMอีก 1KB

I/O(Input/Output)
 pinMode()digitalWrite(),digitalRead()
Digital Pin 14 ขา ทำหน้าที่ได้ทั้ง Input และ Output  ขนาดแรงดัน 5V กระแสทั้งออกและเข้าไม่เกิน
40 mA  มี Pull-Up Resistor บางขามีฟังฏืชันพิเศษคือ
-   Serial: 0 (RX) and 1 (TX)-  External Interrupts: 2 and 3.
PWM: 3, 5, 6, 9, 10, and 11. SPI: 10 (SS), 11 (MOSI), 12 (MISO), 13 (SCK). LED: 13.
ตัวอย่างฟังก์ชันที่เกี่ยวข้อง

 pinMode()digitalWrite(),digitalRead(), attachInterrupt() 
Analog Pin 8ขา เป็น ADC ขนาด 10 bits สำหรับขาAnalog 6,7 ไม่สามารใช้เป็นInput แบบDigitalได้
ขาที่เหลือมี่ฟังก์ชันพิเศษคือ
-  I2C: A4 (SDA) and A5 (SCL).  ใช้สำหรับการสื่อสารแบบ I2C-  AREF. เป็นReference Voltage สำหรับ Analog Input
-  Reset. ต่อลงGround โปรเซสเซอร์จะReset

การสื่อสาร
การสื่อสารสามารทำผ่าน PC ได้โดยการสื่อสารแบบอนุกรม ดูพิ่มเติมที่   https://www.arduino.cc/en/Reference/SoftwareSerial 
สำหรับการสื่อสารแบบI2Cดูเพิ่มเติมที่  
https://www.arduino.cc/en/Reference/Wire

การโปรแกรมการเขียนโปรแกรมแ การทดสอบ ต้องเอาโปรแกมพัฒนามาลงในPCก่อนโดยสามารDownload ที่
https://www.arduino.cc/en/Main/Software (ขณะที่เขียนนี้,10/10/2015,อยู่ที่รุ่น 1.6.5)

สำหรับลิงค์ที่ต้องเข้าไปดู
https://www.arduino.cc/en/Tutorial/HomePage
https://www.arduino.cc/en/Reference/HomePage

....หวังว่าพอจะมีประโยชน์ ในตอนต่อๆไปก็จะเริ่มตัวอย่างงาน คอยติดตามนะ





วันศุกร์ที่ 2 ตุลาคม พ.ศ. 2558

How to use TL494 part2

/* test Here....................................... */
ในตอนที่แล้วให้เห็น การกำเนิดสัญญาณ PWM ทั้งแบบ Push Pulll และแบบขนาน ในตอนนี้จะให้เห็นการนำสัญญาณไปจุด Power Mosfet โดยจะแสดงให้เห็นใน Load ตัวต้านทานในที่นี้เป็นหลอด Halogen ขนาด  12V 50 W และโหลด DcMotor 24V
ดูการทดลองที่https://youtu.be/JTt-HKIo97E



วันเสาร์ที่ 26 กันยายน พ.ศ. 2558

How to use TL494 part1

/* test Here....................................... */
How to use TL494 part1
TL494 เป็นICที่ได้รับความนิยมมากในงาน Switching power supply และในวงจร Inverter ถ้าเปิดเครื่อง
Inverter แปลงไฟ DC  ไปเป็นไฟ AC 220 V จะพบว่าจะใช้ TL494 เป็นตัวกำเนิดสัญญาณ PWM ในส่วน
ที่ใช้แปลงไฟ DC12V หรือ 24V ไปเป็นไฟ DC 310V  โดยใช้วงจร Push pull
   สำหรับวงจร Control Speed Dc Motor สามารถใช้ได้ทั้งแบบการควบคุมแบบทิศทางเดียว และแบบ2ทิศทาง โดยอาจใช้วงจร Half  Bridge หรือแบบ Full Bridge ใน TL494 มี Op-Amp ภายในที่เราสามารถใช้ทำวงจร Compensator
  ในตอนที่1นี้จะเป็นคลิปที่แสดงการทดสอบ IC TL494 และสำหรับต่อๆไปจะเริ่มการนำไปใช้งาน คอยติดตามนะครับ





วันจันทร์ที่ 21 กันยายน พ.ศ. 2558

Dip Soldering Process

/* test Here....................................... */
Dip Soldering Process
การบัดกรีงานจำนวนมากสำหรับธุรกิจขนาดเล็ก เรื่องต้นทุนการผลืตอาจเป็นปัญหาได้  การนำเครื่องจักรมาช่วยในการทำให้งานออกมาเร็ว และได้คุณภาพปัจจุบันมีความจำเป็นมาก เนื่องจากค่าแรงเริ่มสูงขึ้น ในอดีตตอนผมเริ่มสร้างงาน Electronicsขาย ผมไม่ได้ใช้เครื่องมือช่วย งานที่ทำเป็นงานรับจ้างทำของ มีสินค้าไฟฟ้าหลายตัวในบ้านเราวงจรภายในผมเป็นคนออกแบบ ต่อมาเมื่อเกิดปัญหาทางเศษฐกิจ
( กว่า10 ปีแล้วนะ) ผมเริ่มมาสร้างของขายเอง ได้เรียนรู้มากมาย เริ่มสร้างและซื้อเครื่องมือทุ่นแรงมาใช้เข่นเครื่องตัดขาอุปกรณ์ เครื่องบางเครื่องสร้างเอง (ส่วนใหญ่) เช่นอ่างชุบตะกั่ว เครื่องพันหม้อแปลง และอื่นๆ คิดอะไรได้ก็ทำ ผมอยากให้ดูตัวอย่างขบวนการ Dip Soldering บางทีอาจจะเป็นประโยชน์สำหรับเพื่อนๆนะ

วันพฤหัสบดีที่ 10 กันยายน พ.ศ. 2558

การทดสอบ 5v Relay Module

/* test Here....................................... */
การทดสอบ 5v Relay Module
     ปัจจุบันมึการนำ Relay มาประกอบลงแผง PCB พร้อมใช้งาน ใช้งานได้ง่าย สามารถต่อรับสัญญาณจาก Microcontroller


ม็ LED แสดงสถานะไฟเลี้ยงและสถานะการทำงาน  สำหรับการทดสอบใช้ Arduino ส่งสัญญาณอกกมาขับ Relay Module 


วันจันทร์ที่ 7 กันยายน พ.ศ. 2558

การใช้งาน Passive Infrared Motion Sensor HC-SR501

/* test Here....................................... */
การใช้งาน Passive Infrared Motion Sensor HC-SR501
     PIR HC-SR501 เป็น Passive Infrared  Motion Sensor ที่ใช้การตรวจจับการเคลื่อนไหวโดยอาศัยคลื่นความร้อน ที่แผ่ออกมาจากร่างกายสิ่งมีชีวิต การใช้งานเหมาะกับงานป้องกันขโมย หรืองานป้องกัน
บริเวณที่ไม่ต้องการให้มีการเข้าไป

    คุณสมบัติ
    - Voltage: 5V – 20V
    - Power Consumption: 65mA
    - TTL output: 3.3V, 0V
    - Delay time: Adjustable (.3->5min)
    - Lock time: 0.2 sec
    - Trigger methods: L – disable repeat trigger, H enable repeat trigger
    - Sensing range: less than 120 degree, within 7 meters
    - Temperature: – 15 ~ +70 ◦ Dimension: 32*24 mm, distance between screw 28mm, M2,
      Lens dimension in diameter: 23mm














วันอาทิตย์ที่ 6 กันยายน พ.ศ. 2558

การทดสอบหัวกำเนิดO3

/* test Here....................................... */
การทดสอบหัวกำเนิดO3
     เมื่ิอไม่นานมานี้ได้ไปซื้อหัวกำเนิด O3 มา ราคารวมตัวจุดแล้ว 100 กว่าบาท สำหรับตัวจุดใช้ไม่ได้
แต่สำหรับหัวกำเนิดเอามาทดสอบกับไฟ 50 Hz ที่ระดับ 3500 V ก็ ใช้ได้
 

เรื่องการซื้อของมาใช้ ปัจจุบ้นต้องมีความรู้ หรือต้องเอามาทดสอบดูก่อนที่จะใช้หรือเอาไปขายต่อนะคร้บ

วันเสาร์ที่ 5 กันยายน พ.ศ. 2558

Screw Treminal บน Arduino UNO

/* test Here....................................... */
Screw Terminal บน Arduino UNO
ความสะดวกในการออกแบบสำหรับนักออกแบบงานควบคุมมีมากขึ้น การใช้ Terminal ต่อขยายเพื่อเพิ่ม
ความแช็งแรงมั่นคงในการต่อสายบนแผง Arduino ทำได้ง่ายมาก เพียงใช้ Screw Terminal ที่ออกแบบมาให้เสี่ยบบนแผงได้พอดี เท่านี้ก็ใช้งานได้แล้ว